PLAY Enjoy!!
HIDDEN OBJECT GAMES
PC | ENG | 494 Mb | UNRAR & KEYGEN & PLAY
OS: Windows XP/Windows Vista/Windows 7 | CPU: 2.0 GHz | RAM: 1280 MB | DirectX: 9.0 | Hard Drive: 486 MB
Thank: BigFishGames
Find the Tomb of Isis and finish the search that Robert’s Grandpa started! Travel the globe and find clues that will help on your search! After Professor Thomas Penroy is kidnapped, it’s up to you to take over the hunt for the legendry Tomb of Isis in this perplexing Hidden Object Puzzle Adventure game. Unravel ancient mysteries and solve incredible riddles in Serpent of Isis – Your Journey Continues!
Game includes:
+ Incredible gameplay
+ Fantastic graphics
+ Includes Strategy Guide (located in folder inside game folder)
+ Keygen needed just use the serial as shown (Folder Keygen : How to)
ค้นหาหลุมฝังศพของไอซิส และค้นหาสิ่งที่คุณปู่ของโรเบิร์ตได้เริ่มต้นไว้ให้สำเร็จ! ท่องเที่ยวไปทั่วโลกและค้นหาเบาะแสที่จะช่วยในการค้นหาของคุณ! หลังจากที่ศาสตราจารย์โทมัส เพนรอย ถูกลักพาตัวไปก็ขึ้นอยู่กับว่าคุณจะใช้เวลาในการตามหาหลุมฝังศพของไอซิสจากเกมส์สิ่งของปริศนานี้แค่ไหน คลี่คลายความลึกลับโบราณและแก้ปริศนาที่น่าทึ่งใน Serpent of Isis - Your Journey Continues!
ประกอบด้วย:
+ เกมส์ที่สนุกเหลือเชื่อ
+ ภาพกราฟิกน่ามหัศจรรย์
+ คู่มือการเล่น (อยู่ในโฟลเดอร์ภายในโฟลเดอร์เกม)
+ Keygen (อยู่ในโฟลเดอร์ Keygen : How to)
Download from:
FileFactory
Download SerpentOfIsis:YourJourneyFinal.part1.rar from FileFactory.com
Download SerpentOfIsis:YourJourneyFinal.part2.rar from FileFactory.com
------------------------------------------------------------------------------------------------------------
DepositFiles
part 1 = http://depositfiles.com/files/udcyzbpy5
part 2 = http://depositfiles.com/files/xq6mjw5mp
REVIEW : RELATED STORY
Goddess Isis
Isis (Ancient Greek: Ἶσις, original Egyptian pronunciation more likely Aset) is a goddess in Ancient Egyptian religious beliefs, whose worship spread throughout the Greco-Roman world. She was worshipped as the ideal mother and wife as well as the patron of nature and magic. She was the friend of slaves, sinners, artisans, and the downtrodden, and she listened to the prayers of the wealthy, maidens, aristocrats, and rulers. Isis is often depicted as the mother of Horus, the hawk-headed god of war and protection (although in some traditions Horus's mother was Hathor). Isis is also known as protector of the dead and goddess of children.
Isis nursing Horus (Louvre) |
In the typical form of her myth, Isis was the first daughter of Geb, god of the Earth, and Nut, goddess of the Sky, and she was born on the fourth intercalary day. She married her brother, Osiris, and she conceived Horus by him. Isis was instrumental in the resurrection of Osiris when he was murdered by Set. Using her magical skills, she restored his body to life after having gathered the body parts that had been strewn about the earth by Set.
This myth became very important during the Greco-Roman period. For example it was believed that the Nile River flooded every year because of the tears of sorrow which Isis wept for Osiris. Osiris's death and rebirth was relived each year through rituals. The worship of Isis eventually spread throughout the Greco-Roman world, continuing until the suppression of paganism in the Christian era. The popular motif of Isis suckling her son Horus, however, lived on in a Christianized context as the popular image of Mary suckling the infant son Jesus from the fifth century onward.
Origins
The goddess Isis is portrayed as a woman, wearing a headress shaped like a throne; sometimes she is also shown with bird's wings. |
Most Egyptian deities first were first worshipped by very local cults, and they retained those local centres of worship even as their popularity spread, so that most major cities and towns in Egypt were known as the home of a particular deity. The origins of the cult of Isis are uncertain, but it is believed that she was originally an independent and popular deity in predynastic times, prior to 3100 BCE, at Sebennytos in the Nile delta.
The first written references to Isis date back to the Fifth dynasty of Egypt. Based on the association of her name with the throne, some early Egyptologists believed that Isis's original function was that of throne-mother. However, more recent scholarship suggests that aspects of that role came later by association. In many African tribes, the throne is known as the mother of the king, and that concept fits well with either theory, possibly giving insight into the thinking of ancient Egyptians.
Classical Egyptian period
During the Old Kingdom period, Isis was represented as the wife or assistant to the deceased pharaoh. Thus she had a funerary association, her name appearing over eighty times in the pharaoh's funeral texts (the Pyramid Texts). This association with the pharaoh's wife is consistent with the role of Isis as the spouse of Horus, the god associated with the pharaoh as his protector, and then later as the deification of the pharaoh himself.
But in addition, Isis was also represented as the mother of the "four suns of Horus", the four deities who protected the canopic jars containing the pharaoh's internal organs. More specifically, Isis was viewed as the protector of the liver-jar-deity, Imsety. By the Middle Kingdom period, as the funeral texts began to be used by members of Egyptian society other than the royal family, the role of Isis as protector also grew, to include the protection of nobles and even commoners.
By the New Kingdom period, the role of Isis as a mother deity had displaced that of the spouse. She was seen as the mother of the pharaoh, and was often depicted breastfeeding the pharaoh. It is theorized that this displacement happened through the merging of cults from the various cult centers as Egyptian religion became more standardized. When the cult of Ra rose to prominence, with its cult center at Heliopolis, Ra was identified with the similar deity, Horus. But Hathor had been paired with Ra in some regions, as the mother of the god. Since Isis was paired with Horus, and Horus was identified with Ra, Isis began to be merged with Hathor as Isis-Hathor. By merging with Hathor, Isis became the mother of Horus, as well as his wife. Eventually the mother role displaced the role of spouse. Thus, the role of spouse to Isis was open and in the Heliopolis pantheon, Isis became the wife of Osiris and the mother of Horus/Ra. This reconciliation of themes led to the evolution of the myth of Isis and Osiris.
เทวีไอซิส
The Goddess Isis, wall painting, c. 1360 BCE. |
เทพธอทได้ไปท้าพนันกับเทพคอนชู เทพพระจันทร์ซึ่งโปรดปรานการพนัน โดยแสร้งเดินหมากกันจนหลงวันลืมคืน เทพคอนชูไม่รู้เท่าทันเล่ห์กลจึงเปล่งแสงอยู่ตลอดเวลาจนกระทั่งแสงมีมากพอเท่ากับแสงจากพระอาทิตย์จำนวน 5 วัน เทพธอทจึงเลิกเล่นหมากกับเทพคอนชู จากนั้นมาเพราะแสงมีไม่มากพอ เทพคอนชูจึงจำเป็นต้องลดแสงลงบ้างเวลาตอนกลางคืน กำเนิดเป็นข้างขึ้นข้างแรมแต่นั้นมา
เทพธอทนำแสงที่นอกเหนือจากแสงอาทิตย์ของเทพรามาสร้างเป็นวันจำนวน 5 วันพอให้เทพีนุตตั้งครรภ์ ทำให้เกิดเหล่าเทพเทพีจำนวน 5 องค์ คือ
1. วันที่หนึ่ง เทพีนุตให้กำเนิดเทพโอซีริส เทพกษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่ (การกำเนิดของพระองค์เลื่องลือไปทั่วทั้งสรวงสวรรค์ ด้วยเทพโอซิริสเป็นเทพที่ยิ่งใหญ่มาก)
2. วันที่สอง เทพีนุตให้กำเนิดเทพฮามาร์คิส เทพเจ้าแห่งรุ่งอรุณและเทพนักรบ หรือนัยหนึ่งคือ สฟิงซ์
3. วันที่สาม เทพีนุตให้กำเนิดเทพเซต เทพเจ้าแห่งความชั่วร้าย (เทพเซตกำเนิดในฤกษ์ร้าย และฉีกครรภ์ของพระมารดาออกมา)
4. วันที่สี่ เทพีนุตให้กำเนิดเทพีไอซิส เทพีแห่งความรักและไสยศาสตร์
5. วันที่ห้า เทพีนุตให้กำเนิดเทพีเนฟธิส เทพีผู้คุ้มครองวิญญาณคนตาย ต่อมาเป็นชายาเทพเซต
Temple of Isis (Pompeii) |
อียิปต์รุ่งเรืองอย่างมากในยุคสมัยของเทพโอซิริสและเทพีไอซิส ทั้งสองสั่งสอนประชาชนให้รู้จักอารยธรรม และประดิษฐ์คิดค้นสิ่งต่างๆ จนเหล่าราษฏรต่างเคารพนับถือในเทพเทพีทั้งสองเป็นอย่างมาก แต่เรื่องราวต่างๆ ไม่รอดพ้นสายตาของเทพเซตผู้ริษยาเทพเชษฐามาตลอด เทพเซตต้องการเป็นพระราชา จึงสังหารเทพโอซิริสใส่โลงลอยตามแม่น้ำไนล์ไป ในขณะนั้นเทพีไอซิสมิได้อยู่ใกล้ชิดสวามี พระนางเศร้าโศกเสียใจเป็นอันมาก
เทพเซตยึดบัลลังก์และตั้งตัวเป็นใหญ่ แต่ทว่าเส้นทางของเทพผู้ชั่วร้ายไม่ราบรื่นเพราะเทพีไอซิสตั้งครรภ์ ด้วยความรักที่ยิ่งใหญ่ เทพีไอซิสสืบเสาะหาร่องรอยสวามีไปทั่วไอยคุปต์อย่างยากลำบากถึงขนาดต้องประสูติโอรส เทพโฮรัส หรือ เทพฮอรัส กลางเส้นทาง เทพีไอซิสมอบโอรสในปกครองของเทพีบูโตทั้งที่ห่วงหาเป็นยิ่งนัก แต่พระนางจำเป็นต้องนำพระศพมาประกอบตามพิธี ไม่เช่นนั้นเทพโอซิริสก็ไม่สามารถไปยังดินแดนแห่งความตายได้
เทพีไอซิสพบพระศพหลังจากตามหามาแสนนาน พระนางซบพระพักตร์ร่ำไห้กับโลงสวามีและจะนำพระศพไปประกอบพิธี แต่เทพเซตผู้ชั่วร้ายก็ตามหาพระศพเจอ จึงได้ฉีกศพเทพโอซิริสขาดวิ่นและโยนไปทั่วไอยคุปต์ เทพีไอซิสจึงต้องตามหาพระศพของสวามีอีกครั้งอย่างแสนเข็ญยิ่งกว่าเดิม
แต่โชคร้ายยังไม่จากเทพีไอซิสไป เมื่อเทพเซตต้องการล้างเสี้ยนหนามขวางทางสู่การเป็นราชา จึงได้ส่งงูไปสังหารเทพโฮรัสที่ยังเป็นแค่ทารกจนสิ้นใจในอกของพระนาง เทพีไอซิสต้องประสบเคราะห์กรรมสาหัส แต่เหล่าทวยเทพบอกพระนางว่า เทพโฮรัสจะฟื้นคืนชีพขึ้นมาอีก แถมจะเก่งกล้าสามารถถึงขั้นสังหารเทพเซตลงได้ ขอให้พระนางติดตามพระศพต่อไปเถิด
เทพีไอซิสต้องการแก้เผ็ดเทพเซต จึงแปลงกายเป็นเทพีเนฟธิสขอคำสาบานจากเทพเซตว่า จะไม่ทำร้ายโอรสของพระนางจนกว่าโอรสของพระนางทำร้ายเทพเซตก่อน ซึ่งจะทำให้เทพโฮรัสฟื้นคืนชีพมาได้สำเร็จและปลอดภัยจนกว่าจะเติบใหญ่ เทพเซตนึกว่าเทพีเนฟธิสเป็นผู้พูดจึงตกปากรับสาบาน ทันใดนั้นเทพีไอซิสก็เผยร่างจริงออกมา ทำให้เทพเซตเดือดดาลเป็นอันมาก
หลังจากทุกข์ทรมานกายใจมาตลอดหลายปี เทพีไอซิสก็ติดตามชิ้นส่วนของเทพโอซิริสจนครบและประกอบพิธีศพได้ โดยมีเทพอานูบิส เทพแห่งความตาย (โอรสที่เกิดแต่เทพีเนฟธิสผู้หลงรักเทพโอซิริส พระนางได้แปลงกายเป็นเทพีไอซิสและมอมสุราเทพโอซิริส จนมีเทพอานูบิส แต่บางที่ก็ว่าที่แท้จริงแล้วเทพอานูบิสเป็นโอรสเทพีเนฟธิสกับเทพเซตนั่นเอง) เป็นผู้ทำพิธีศพให้ มีการพันผ้ารอบศพและลงน้ำยา ก่อให้เกิดการทำมัมมี่ขึ้นมาตั้งแต่ตอนนั้น เมื่อเทพโอซิริสไปถึงดินแดนแห่งความตายแล้ว พระองค์ก็ยิ่งใหญ่ถึงขนาดเป็นราชาแห่งโลกของคนตาย
เวลาแห่งการล้างแค้นมาถึง เมื่อเทพโฮรัสได้ฟื้นขึ้นจากตาย (พระองค์มีสัญลักษณ์คือนกฟีนิกซ์ วิหคอมตะ) เทพบิดา เทพมารดา และเหล่าทวยเทพอีกมากมายได้สั่งสอนสิ่งต่างๆ จนเทพโฮรัสเก่งกาจทั้งบู๊และบุ๋น ต่อมาเทพโฮรัสปราบเทพเซตลงได้ตามคำทำนาย และเป็นเทพกษัตริย์องค์สุดท้ายแห่งไอยคุปต์ ครอบครองบัลลังก์อย่างชอบธรรม
ท้ายสุด เทพครอบครัวนี้ก็ได้มาอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขอีกครั้งหนึ่ง ผู้คนในอียิปต์เมื่อบูชาเทพองค์ใดองค์หนึ่งในนี้ ก็จะบูชาเทพทั้งสององค์ร่วมด้วย และเป็นสัญลักษณ์ต่อกันมาว่า ฟาโรห์ที่สิ้นพระชนม์ไปแทนเทพโอซิริส องค์รานีคือเทพีไอซิส และฟาโรห์องค์ต่อมาคือเทพโฮรัส
ลักษณะของเทวีไอซิส
สัญลักษณ์ของเทวีไอซิสมีลักษณะเป็นเทพี บางครั้งมีปีก เครื่องทรงศิราภรณ์เป็นรูปบัลลังก์คล้ายขั้นบันได
Source:
http://en.wikipedia.org/wiki/Isis
http://en.wikipedia.org/wiki/Isis
http://th.wikipedia.org/wiki/ไอสิส
No comments:
Post a Comment